รักษาโรคเหงือก

Posted on: พฤษภาคม 20, 2013, by :

รักษาโรคเหงือก (Gum treatment / Periodental treatment)

ขั้นตอนการรักษาโรคเหงือก

เมื่อทราบสาเหตุแล้วว่า โรคปริทันต์ ว่าเกี่ยวข้องกับการสะสมของคราบหินปูน จึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่การรักษาจะต้องมีการขูดหินปูน และเกลารากฟัน(Root planning) ร่วมด้วย คำว่าเกลารากฟันนี้อาจจะเป็นศัพท์ใหม่ ที่คนทั่วไปไม่ค่อยคุ้น แปลไทยเป็นไทยได้ว่า ทำผิวรากฟันให้เรียบ (เกลา = ทำให้เรียบ) คือการกำจัดคราบหินปูนและคราบเชื้อโรคที่เกาะบนรากฟันให้หมด จนได้ผิวรากฟันที่เรียบแข็ง ช่วยให้เหงือกกลับมายึดได้ดีขึ้น

Gum Disease – Treatment Overview

Early treatment of gum disease is very important. The goals of treatment are to prevent gum disease from permanently damaging tissues, control infection, and prevent tooth loss. For treatment to be effective, you will need to:

  • Keep your teeth clean by brushing two times a day and flossing one time a day.
  • See your dentist regularly for checkups and cleanings.
  • Avoid all tobacco use. Tobacco decreases your ability to fight infection, interferes with healing, and makes you more likely to have serious gum disease that results in tooth loss.

Treatment for early-stage gum disease

If you have early-stage gum disease (gingivitis ), you may be able to reverse the damage to your gums:

  • Brush your teeth two times a day, in the morning and before bedtime.
  • Floss your teeth one time a day.
  • Use an antiseptic mouthwash, such as Listerine, or an antiplaque mouthwash.

For more information on how to care for your teeth, see:

Dental care: Brushing and flossing your teeth.

Your dentist will want to see you for regular checkups and cleanings. Professional cleaning can remove plaque and tartar that brushing and flossing missed. After you have had gum disease, you may need to see your dentist every 3 or 4 months for follow-up.

Your dentist may prescribe antibiotics to help fight the infection. They can be applied directly on the gums, swallowed as pills or capsules, or swished around in your teeth as mouthwash. Your dentist may also recommend an antibacterial toothpaste that reduces plaque and gingivitis when used regularly.

Treatment for advanced gum disease

Early-stage gum disease (gingivitis ) that is not treated promptly or that does not respond to treatment can progress to advanced gum disease (periodontitis ). Periodontitis requires prompt treatment to get rid of the infection and stop damage to the teeth and gums, followed by long-term care to maintain the health of your mouth.

  • Your dentist or dental hygienist will remove the plaque and tartar both above and below your gum line. This procedure, called root planing and scaling, makes it harder for plaque to stick to the teeth.
  • Your dentist may give you antibiotics to kill bacteria and stop the infection. They may be applied directly on the gums, swallowed as pills or capsules, or inserted into the pockets in your gums.
  • You may need surgery if these treatments don”t control the infection or if you already have severe damage to your gums or teeth. Surgery options may include:

    – Gingivectomy, which removes and reshapes loose, diseased gum tissue to get rid of the pockets between the teeth and gums where plaque can build up.

    – A flap procedure, which cleans the roots of a tooth and repairs bone damage.

    – Extraction, to remove loose or severely damaged teeth.

  • After surgery, you may need to take antibiotics or other medicines to aid healing and prevent infection.

After treatment, you will need to keep your mouth disease-free by preventing plaque buildup. You will need to brush carefully and thoroughly after all meals and snacks and floss daily. Your dentist will probably prescribe an antibacterial mouthwash.

Your dentist will schedule follow-up appointments regularly for cleaning and to make sure that the disease has not returned.

สรุปขั้นตอนการรักษา

1.การรักษาจะต้องมีการขูดหินปูน และเกลารากฟัน (Root planning) ร่วมด้วย โดยจะขูดหินปูนทั้นบนตัวฟันและส่วนที่อยู่บนผิวรากฟันภายในร่องปริทันต์ ส่วนการเกลารากฟันคือการทำให้ผิวรากฟันเรียบเพื่อให้เนื้อเยื่อเหงือกสามารถกลับมายึดแน่นติดกับผิวฟันได้เหมือนเดิม ซึ่งขั้นตอนนี้จะต้องทำซ้ำหลายๆครั้ง

2.หลังจากรักษาเสร็จแล้วประมาณ 4-6 สัปดาห์ ทันตแพทย์จะเรียกกลับมาดูอาการอีกครั้งว่า หายดีหรือไม่ ถ้ายังมีร่องลึกปริทันต์เหลืออยู่หรือมีการละลายของกระดูกไปมาก อาจจำเป็นต้องใช้วิธีผ่าตัดเหงือก (ศัลย์ปริทันต์ : Periodontal Surgery) ร่วมด้วย

3.ท่านจะต้องทำความสะอาดฟันและซอกฟันอย่างถูกวิธีและสม่ำเสมอด้วยตนเอง อย่างน้อยจะต้องใช้แปรงและไหมขัดฟันทุกวัน เพื่อที่จะกำจัดคราบจุลินทรีย์ให้หมดทุกวัน

4.ไปพบทันตแพทย์ทุก 6 เดือน เพื่อตรวจดูว่ามีคราบจุลินทรีย์และหินปูนหลงเหลือจากการทำความสะอาดเองหรือไม่ เพื่อที่จะได้รับการรักษาในระยะแรก

หากในคนไข้ที่เป็นโรคเหงือกมาก ๆ ก็อาจจำเป็นต้องพบทันตแพทย์เฉพาะทางเพื่อทำการเกลารากฟัน เพื่อขจัดคราบจุลินทรีย์ และหินปูนที่บริเวณตัวฟัน และผิวรากฟัน การขูดเหงือกเป็นการกำจัดเนื้อเยื่อที่ติดเชื้อที่ช่องเหงือก การขูดหินปูน และการขูดเหงือกเป็นการใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากอย่างจริง ก็จะเพียงพอต่อการควบคุมโรค แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค

สำหรับคนไข้ที่เป็นโรคเหงือกมาก ๆ การขูดหินปูนและการขูดเหงือก อาจจะไม่ได้ผล ซึ่งในลักษณะนี้ส่วนใหญ่จะแนะนำให้ทำการผ่าตัด ซึ่งระหว่างการผ่าตัดนี้ แพทย์ผู้ทำการผ่าตัดจะทำการยกเหงือกเพื่อที่จะดูการลุกลามไปที่รากหรือกระดูก คราบจุลินทรีย์และหินปูนที่ได้ทำการขจัดออกจากบริเวณและจากกระดูกฟัน จากนั้นนำเหงือกกลับสู่ตำแหน่งที่เหมาะสมที่เหมาะแก่การทำความสะอาดหลังการรักษา

เมื่อมีการเปิดเหงือก และกระดูกมีการสูญเสียไป บางครั้งคนไข้ต้องรักษาโดยการปลูกกระดูก ซึ่งการปลูกกระดูกนี้เป็นการสร้างกระดูกจากไขกระดูกในปากของเราเอง หรือจากกระดูกเทียม ซึ่งในขั้นตอนนี้ จะทำการนัดคนไข้ ประมาณ 2-3 ครั้ง แต่ในบางกรณีก็สามารถเสร็จได้ภายในครั้งเดียว ในโรงพยาบาลหรือคลินิกที่มีอุปกรณ์ครบครัน